คำถาม พื้นฐาน
1.1 กรรมคืออะไร ให้ผลในระดับบุคคล และสังคมอย่างไร
1.2 ถ้าไม่มีเจตนา ก็ไม่ผิดใช่หรือไม่
ถ้าไม่รู้ ก็ไม่ผิด ใช่หรือไม่
1.3 การอุทิศกุศล มีจริงหรือไม่ ทำได้อย่างไร
1.4 การเวียนว่ายตายเกิด มีจริงหรือไม่ พิสูจน์ได้อย่างไร
ชีวิต เป็นไปอย่างไร :
กรรม และปฏิจจสมุปบาท
ใจความพุทธธรรม บทที่
: 4, 5, 20จำนวนสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
: 9 สื่อ/กิจกรรมระยะเวลา
: 6 ชั่วโมง (ต่อ 2-3 สัปดาห์)ตัวอย่างเนื้อหา
: กรรมคืออะไร ให้ผลในระดับบุคคล และสังคมอย่างไร ?
: กรรมเก่ามีหรือไม่ ? เกิดมาเพื่อใช้กรรมใช่ไหม ?
: สภาวะขณะที่เป็น กุศล-อกุศล เป็นอย่างไร ?
(ข) ความหมายของกรรม
(ค) ประเภทของกรรม
(ก) ปัญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว
(ข) ความหมายของกุศลและอกุศล
7 หน้า
๑) สุขทุกข์ ใครทำให้?
๒) เชื่ออย่างไรผิดหลักกรรม
๓) กรรม ชำระล้างได้อย่างไร
๔) แก้กรรม ด้วยปฏิกรรม
(ง) ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจน์เรื่องตายแล้วเกิดหรือไม่
(จ) ข้อสรุป: การพิสูจน์และท่าทีปฏิบัติต่อเรื่องชาติหน้า
หมวดที่ ๑ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล
หมวดที่ ๒ จำแนกการให้ผลตามหน้าที่
หมวดที่ ๓ จำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล
หมวดที่ ๔ จำแนกตามสถานที่คือภพเป็นที่ให้ผล
84 นาที
๑. ฐานะและความสำคัญ
๒. ตัวบทและแบบความสัมพันธ์ในหลักปฏิจจสมุปบาท
๓. การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท
๔. ความหมายโดยสรุป เพื่อความเข้าใจเบื้องต้น
๕. คำอธิบายตามแบบ
60 นาที
- ปฏิจจสมุปบาทกับการดูจิต (พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช) (3.26 นาที)
- การละวางต่ออกุศลธรรม (พระภาวนาเขมคุณ) (59.27 นาที)
ตัวอย่างหัวข้อที่น่าศึกษาเพิ่มเติม....
- ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- เกณฑ์ตัดสิน ความดี–ความชั่ว (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- การให้ผลของกรรม (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- กรรม ชำระล้างได้อย่างไร? (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- กรรมกับอนัตตา ขัดกันหรือไม่? (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- กรรม ๑๒ (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- คำอธิบาย ปฏิจจสมุปบาท ตามแบบ (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- ความหมาย ปฏิจจสมุปบาท ในชีวิตประจำวัน (อ่านพุทธธรรมออนไลน์ / ฟังเสียงอ่านหนังสือพุทธธรรม)
- ถ่ายภาพ ภาวนา (optional)
- ผีเสื้อขยับปีก (optional)
- โอวาทปาติโมกข์ (บทสวดมนต์แปล พร้อมคลิปเสียง / พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี)
- จูฬกัมมวิภังคสูตร (พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี)
- มหากัมมวิภังคสูตร (พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี) (คลิกดูเอกสารสรุปความ)
- คู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๕ วิถีมุตตสังคหวิภาค กัมมจตุกะ
- คู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๘ ปัจจยสังคหวิภาค
- การบรรยาย ชุด "ตามรอย..พุทธธรรม" เรื่อง หลักกรรม (youtube | soundcloud)
- การบรรยาย ชุด "ตามรอย..พุทธธรรม" เรื่อง ปฏิจจสมุปบาท
คลิป ธรรมบรรยาย
------------------
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
- ยถาธรรม ยถากรรม (8 นาที)
- มีปัญญารู้ทันอนิจจัง หันหลังให้ตัณหา มาสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้ากันให้เต็มที่ (58.18 นาที)
พระภาวนาเขมคุณ
- วิปัสสนาภูมิ (๖) ว่าด้วยปฏิจจสมุปบาท 12 (50.29 นาที)
- กรรม จำแนกสัตว์ให้หยาบและปราณีต (38.21 นาที)
- 31ภพภูมิในสังสารวัฎ (51 นาที)
อ.เสถียร โพธินันทะ
- ปฏิจจสมุปบาท
- คลิปเต็ม 4 ชม.
- ช่วงสรุปย่อ 37+ นาที
กรรมของคนไทย ทำกันไว้เอง (ถึงเวลา มาแก้กรรมกันเสียที)
------------------
... คนเราเกิดมามีอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไว้รับรู้และรู้สึก สำหรับด้านความรู้สึกจะนำไปสู่การเกิดความอยากประเภทกิเลสตัณหา คืออยากเสพ เช่น เมื่อได้ลิ้มรสอาหาร จะรู้สึกอร่อยหรือไม่อร่อย ถ้าอร่อยก็อยากกินอีก ถ้าไม่อร่อย ก็อยากจะเลิกหรือเลี่ยงหนี ความอยากประเภทนี้ คือตัณหา ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่ต้องมีความรู้ เรียกว่ามีอวิชชาเป็นตัวเอื้อ อวิชชากับตัณหาไปด้วยกัน
ถ้าการศึกษาเริ่มต้นคือคนเริ่มพัฒนา ก็จะมีการเรียนรู้เช่น ด้วยการตั้งคำถามว่าเรากินเพื่ออะไร เมื่อถามว่าเรากินเพื่ออะไร ก็มีการคิดพิจารณา และปัญญาก็เริ่มมา แล้วก็จะได้คำตอบทางปัญญาว่า กินเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพดี ไม่ใช่กินเพียงเพื่ออร่อย แล้วความรู้นี้ก็จะทำให้เราปรับพฤติกรรมการกินทันที ...
ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์
------------------
...เป็นการรวบรวมเรื่องอิทัปปัจจยตาในส่วนของปฏิจจสมุปบาทมาอย่างครบถ้วนเพียงพอที่จะศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาทอย่างชัดแจ้งถึงที่สุด ให้สมกับพระพุทธภาษิตที่ว่า “ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นเห็นธรรม, ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต” ดังที่ปรากฏอยู่ในหนังสือเล่มนี้แล้ว. นับเป็นการเห็นพระพุทธองค์ในภาษาธรรม ซึ่งเกื้อกูลแก่การบรรลุมรรคผลนิพพานเป็นอย่างยิ่ง.
ผู้รวบรวม
(ที่มา:https://www.pagoda.or.th...)
อิทัปปัจจยตา
------------------
... คําว่าอิทัปปัจจยตา มีความหมายกว้างทั่วไปจะใช้กับรูปธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งในกรณีใดกรณีหนึ่งก็ยังได้, เป็นกฎวิทยาศาสตร์ทั่วไปก็ได้, ส่วนปฏิจจสมุปบาทนั้นมุ่งหมายใช้เฉพาะเรื่องเกิดทุกข์ และดับทุกข์โดยตรงในพุทธศาสนาเท่านั้น. แต่ถึงอย่างนั้น ใจความสําคัญก็คงมีอย่างเดียวกันคือแสดงถึงกระแสแห่งปัจจัยและสิ่งที่เกิดตามปัจจัยเป็นสายยืดยาวไปเท่านั้น ....
(ที่มา:http://www.buddhadasa.org/...)
1.1 กรรมคืออะไร ให้ผลในระดับบุคคล และสังคมอย่างไร
1.2 ถ้าไม่มีเจตนา ก็ไม่ผิดใช่หรือไม่
ถ้าไม่รู้ ก็ไม่ผิด ใช่หรือไม่
1.3 การอุทิศกุศล มีจริงหรือไม่ ทำได้อย่างไร
1.4 การเวียนว่ายตายเกิด มีจริงหรือไม่ พิสูจน์ได้อย่างไร
2.1 ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว จริงหรือไม่
2.2 ความดี-ความชั่ว คนดี-คนชั่ว มีจริงหรือไม่
2.3 กรรมเก่า มีจริงหรือไม่
2.4 เกิดมาเพื่อใช้กรรม ใช่หรือไม่
2.5 การแก้กรรม ล้างบาป ทำได้หรือไม่ อย่างไร
2.6 ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท และอิทัปปัจจยตา มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันอย่างไร
3.1 สภาวะขณะที่เป็น สุข-ทุกข์ เป็นอย่างไร
3.2 สภาวะขณะที่เป็น กุศล-อกุศล เป็นอย่างไร
3.3 กระแสปฏิจจสมุบาท เกิดขึ้นจริงในชีวิตอย่างไร
3.4 มีอะไร เป็นปัจจัย ต่อการตัดสินใจครั้งหนึ่งๆ บ้าง
3.5 การตัดสินใจครั้งหนึ่งๆ ส่งผลต่อสิ่งใด หรือใคร บ้าง
หากผู้เรียนที่ลงทะเบียนในหลักสูตร "ตามรอย.. พุทธธรรม ออนไลน์"
ต้องการจะส่งแบบฝึกหัด หรือหารือ กับคณะพระวิทยากร ในเนื้อหาของสัปดาห์ที่กำหนดไว้
สามารถกดปุ่ม "ส่งแบบฝึกหัด ประจำสัปดาห์" เพื่อกรอกข้อมูลผ่านระบบ Google form
Set up your own website with Mobirise