คำถาม พื้นฐาน
1.1 พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ คืออะไร
1.2 ความรู้ กับความเชื่อ ต่างกันอย่างไร
1.3 ศรัทธาที่ดี และไม่ดี ต่างกันอย่างไร
การเรียนรู้ชีวิต : ศรัทธา vs ปัญญา
ใจความจากหนังสือพุทธธรรม บทที่
: 12 - 13จำนวนสื่อการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
: 5 สื่อ/กิจกรรมระยะเวลา
: 5 ชั่วโมง (ต่อ 1-2 สัปดาห์)ตัวอย่างเนื้อหา
: ความเชื่อ กับความรู้ ต่างกันอย่างไร ?
: การนับถือพระรัตนตรัย ทำให้พ้นทุกข์ได้อย่างไร ?
: มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ จริงหรือ ?
ความหมาย คุณลักษณะ และเป้าหมายของ ศรัทธา
45-90 นาที
มีกัลยาณมิตร > สดับธรรม > (ศรัทธา) > โยนิโสมนสิการ > ปฏิบัติธรรมถูกหลัก
(คลิกเพื่อดาวน์โหลด เอกสารประกอบการบรรยาย ชุดที่ 1)
"... นี่คือหลักพระรัตนตรัยที่ กว้างใหญ่ครอบคลุมพระพุทธศาสนาทั้งหมด ในหลักพระรัตนตรัยนี่แหละเราจะรู้ไตรลักษณ์ของธรรมชาติ และปฏิบัติไตรสิกขาซึ่งเป็นหัวข้อใหญ่อีกสองไตรต่อไป ..."
17 หน้า
"...สำหรับทุกคน ไม่ว่าจะเป็นผู้นับถือทฤษฎี ลัทธิ หรือคำสอนอันใดอันหนึ่งอยู่แล้ว หรือยังไม่นับถือก็ตาม
มีหลักการตั้งทัศนคติที่ประกอบด้วยเหตุผล ตามแนวกาลามสูตร..."
30 นาที
- สวดมนต์ ทำวัตรเช้า แปล (คลิกดูบทสวด พร้อมคลิปเสียง)
- สวดสาธยายเขมาเขมสรณทีปิกคาถา (คลิกดูบทสวด พร้อมคลิปเสียง)
- เขมาเขมสรณคมนปริทีปิกคาถา (บทสวดมนต์แปล พร้อมคลิปเสียง / พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี)
- จูฬหัตถิปโทปมสูตร ว่าด้วยลักษณะการเลื่อมใสพระพุทธศาสนา (พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี) (คลิกดูเอกสารสรุปความ)
- กาลามสูตร / เกสปุตตสูตร (พจนานุกรมประมวลธรรม / พระไตรปิฎกไทย / พระไตรปิฎกบาลี)
- การแปลบาลีในกาลามสูตร (บันทึกพิเศษท้ายบท (บันทึกที่ 2) หนังสือพุทธธรรม บทที่ 12)
ตอนที่ 38
นับถือพระพุทธศาสนาไม่ใช่แค่มีที่พึ่งพาไว้ยึดเหนี่ยวหรือปลอบประโลมใจ
ตอนที่ 39
ถ้านับถือพระรัตนตรัย ไม่ต้องมีใครมาเคี่ยวเข็ญ ก็สำนึกถึงความจำเป็น ที่จะต้องฝึกตนยิ่งขึ้นไป
ตอนที่ 41
ถ้าพึ่งพระรัตนตรัยถูกต้อง ก็จะก้าวต่อขึ้นไปถึงธรรม จนจบที่เป็นอิสระแท้ ไม่ต้องพึ่งอะไรๆ
...คำว่า "ชาวพุทธ" มิใช่เป็นถ้อยคำที่พึงเรียกขานกันอย่างเลื่อนลอย บุคคลที่จะเรียกได้ว่าเป็น "ชาวพุทธ" จะต้องมีหลักการ มีคุณสมบัติประจำตัว และมีมาตรฐานความประพฤติ ที่รองรับ ยืนยัน และ แสดงออกถึงความเป็นชาวพุทธนั้น...
...การที่พระรูปใดมีคุณสมบัติเด่นขึ้นมา ก็ให้เป็นประโยชน์แก่สงฆ์ เพื่อจะได้มาช่วยกันปรับปรุงสงฆ์ให้ดีขึ้น ไม่ใช่ไปเอาเด่นเอาดีให้มหาชนยึดติดเป็นเครื่องเชิดชูตัว เมื่อเรามีความสามารถขึ้นมาเราต้องเอาความสามารถนั้นไปช่วยสงฆ์ ว่าทำอย่างไรจะให้คุณสมบัติส่วนรวมดีขึ้นมาได้ และให้พระศาสนาอยู่ ให้บุคคลดี โดยเอื้อประโยชน์แก่สงฆ์ ให้สงฆ์ดี เพื่อเกื้อกูลต่อการพัฒนาบุคคล ไม่ใช่ให้บุคคลดีเพื่อดูดเอาประโยชน์ไปจากสงฆ์ และไม่ใช่ให้สงฆ์ดีเพื่อผลประโยชน์ของบุคคล ตลอดจนอย่าให้พระศาสนาล่มหายไปกับบุคคล...
...หากจะมีศาสนาหนึ่งใดก็ตาม ที่แสดงความจริงแท้ นำมนุษย์ให้เข้าถึงสัจจธรรมได้จริง วิทยาศาสตร์กับศาสนานั้นก็ย่อมเป็นวิทยาหรือความรู้อันเดียวกัน และก็จะกลมกลืนเข้าด้วยกันกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียว เมื่อนั้นศาสนากับวิทยาศาสตร์ก็จะถึงจุดบรรจบกันอีกครั้งหนึ่ง เป็นการบรรจบประสานขั้นสุดท้ายที่ว่า ศาสนาก็คือวิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ก็คือศาสนา ไม่มีการแบ่งแยกอีกต่อไป...
1.1 พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ คืออะไร
1.2 ความรู้ กับความเชื่อ ต่างกันอย่างไร
1.3 ศรัทธาที่ดี และไม่ดี ต่างกันอย่างไร
2.1 การนับถือพระรัตนตรัยเป็นปัจจัย
สู่ความพ้นทุกข์ได้อย่างไร
2.2 มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ ใช่หรือไม่
2.3 แข่งบุญ แข่งวาสนา แข่งกันไม่ได้
จริงหรือไม่
3.1 ในสถานการณ์ใดบ้าง ในชีวิตจริง
ที่ได้ระลึกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ
3.2 ความรู้และความเชื่อ ส่งผลกับท่าที
ต่อสิ่งต่างๆ อย่างไรบ้าง
หากผู้เรียนที่ลงทะเบียนในรายวิชา 306102 "ชีวิตและความตาย ในพระพุทธศาสนา"
ต้องการจะส่งแบบฝึกหัด หรือหารือ กับคณะพระวิทยากร ในเนื้อหาของสัปดาห์ที่กำหนด
สามารถกดปุ่ม "ส่งแบบฝึกหัด" เพื่อกรอกข้อมูลผ่านระบบ Google form
Mobirise web page creator - Click for more