| |
โยนิโสมนสิการ ๑๐ วิธี   |  

๑. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ดังนี้

ก. การคิดแบบปัจจัยสัมพันธ์

ข. การคิดแบบสอบสวน คือ ตั้งคำถาม

๒. วิธีคิดแบบแยกองค์ประกอบหรือกระจายเนื้อหา

๓. วิธีคิดแบบรู้เท่าทันธรรมชาติ คือ มองเหตุการณ์สถานการณ์ ความเป็นไปของสิ่งทั้งหลายอย่างรู้เข้าใจธรรมดาธรรมชาติของสิ่งนั้น ๆ โดยแบ่งเป็น ๒ ขั้นตอน คือ

ขั้นตอนที่ ๑ รู้เท่าทันและยอมรับความจริง

ขั้นตอนที่ ๒ แก้ไขและทำการไปตามเหตุปัจจัย

๔. วิธีคิดแบบแก้ปัญหาหรือวิธีคิดแบบอริยสัจ ๔

๕. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์หรือคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย

๖. วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก [อัสสาทะ อาทีนวะ นิสสรณะ]

๗. วิธีคิดแบบรู้คุณค่าแท้และคุณค่าเทียม หรือการพิจารณาเกี่ยวกับปฏิเสวนา คือ การใช้สอยหรือบริโภค

๘. วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม

๙. วิธีคิดแบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน

๑๐. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท


เกี่ยวกับตำราอภิธรรม ออนไลน์ (Disclaimer)
ตำราอภิธรรมออนไลน์ พัฒนาขึ้นโดยความร่วมมือของอภิธรรมมหาวิทยาลัย วัดระฆังฯ วัดญาณเวศกวัน และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ เพื่อนำเสนอสื่อธรรมสำหรับการศึกษาค้นคว้า โดยได้รับอนุญาต และเอกสารต้นฉบับจากผู้เขียน ดังนี้
(๑) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๒), จิตปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๑, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๒) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๖), เจตสิกปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๒, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๓) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๖๓), รูปปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๖, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
ผู้สนใจศึกษาสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ และหลักสูตรการศึกษาได้ที่ สำนักงานอภิธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร (คณะ ๗) แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร ๐๒ ๔๑๑ ๔๕๔๖, ๑๒ ๔๑๒ ๑๐๘๔, ๐๘๖ ๐๓๘ ๒๙๓๓


  |