| |
อนิจจลักษณะ ๑๐   |  

๑. อนิจจโต โดยความไม่เที่ยง
๒. อัทธุวโต โดยความไม่ยั่งยืน
๓. อสารกโต โดยความไม่เป็นแก่นสาร
๔. จลโต โดยความเป็นของหวั่นไหว ไม่มีหยุดนิ่งและคงที่เลย
๕. ปโลกโต โดยความแตกดับ
๖. วิปริณามธัมมโต โดยความเปลี่ยนแปลง กลับกลอก เป็นธรรมดา
๗. มรณธัมมโต โดยความเป็นไปเพื่อความตาย
๘. วิภวโต โดยความเป็นของฉิบหาย
๙. สังขตโต โดยความเป็นของที่ต้องปรุงแต่งเนือง ๆ
๑๐. ปภังคโต โดยความเป็นของทำลาย ผุพัง แตกกระจัดกระจายไป

รวม ๑๐ ประการนี้ จัดเข้าใน ๕ ขันธ์ ก็เป็น ๕๐ ประการ


เกี่ยวกับตำราอภิธรรม ออนไลน์ (Disclaimer)
ตำราอภิธรรมออนไลน์ พัฒนาขึ้นโดยความร่วมมือของอภิธรรมมหาวิทยาลัย วัดระฆังฯ วัดญาณเวศกวัน และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ เพื่อนำเสนอสื่อธรรมสำหรับการศึกษาค้นคว้า โดยได้รับอนุญาต และเอกสารต้นฉบับจากผู้เขียน ดังนี้
(๑) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๒), จิตปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๑, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๒) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๖), เจตสิกปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๒, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๓) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๖๓), รูปปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๖, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
ผู้สนใจศึกษาสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ และหลักสูตรการศึกษาได้ที่ สำนักงานอภิธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร (คณะ ๗) แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร ๐๒ ๔๑๑ ๔๕๔๖, ๑๒ ๔๑๒ ๑๐๘๔, ๐๘๖ ๐๓๘ ๒๙๓๓


  |